กลุ่มอาการเสียของคอมพิวเตอร์
ลักษณะอาการเสียของเครืองคอมพิวเตอร์ เราสามารถแบ่งได้เป็น 5 กลุ่มอาการ ดังนัÊนในการตรวจหาสาเหตุของ อาการเสีย ก็ให้ดูว่าเป็นอาการเสียทีอยู่ในกลุ่มใดดังนี
1. ตรวจสอบอาการเสียของเครืองจากเสียง Beep Code
ทุก ๆ ครังทีคุณเปิดใช้งานเครืองครั้งแรกก็จะได้ยินเสียง ปีป ดังสัน ๆ1 ครัง แล้วเครื่องก็จะทํางานต่อตามปกติ แต่ถ้าเมือไรทีคุณได้ยินสียงมากกว่า 1 ครัง หรือมีเสียงดังยาว ๆ จากนันเครืองก็หยุดนิง ก็ทําใจไว้ได้เลยว่าเครืองของคุณมีปัญหาแล้ว เมื่อคุณเจออาการแบบนีให้รีบปิ ดเครืองทันที เพราะตราบใดทีเครื่องยังไม่ได้รับการแก้ไขก็จะไม่สามารถใช้งานเครื่องได้จนกว่าจะแก้ปัญหาเสียก่อน เสียงปีปทีเราได้ยินนีจะถูกเรียกว่า Beep Code ซึงจะมีจํานวนครังไม่เท่ากันและมีเสียงดังสันบ้างยาวบ้าง ลักษณะของเสียงทีแตกต่างกันนีเองทีบอกเราว่า อุปกรณ์ชินไหนมีปัญหา ดังนันถ้าเจอปัญหาลักษณะนีก็ต้องลองฟังให้ดีว่า ดังกีครัง สั้น ยาวแบบไหน แล้วนําไปเทียบดูในตารางไบออสตามยีห้อของไบออส เพือจะรู้ว่าอะไรคือต้นเหตุ แล้วจะได้หาทางแก้ไขต่อไป
2. ตรวจสอบอาการเสียของเครื่องโดยดูจากข้อความที่แจ้งบนหน้าจอการแจ้งปัญหาหรือความผิดปกติที่เครื่องตรวจพบด้วยข้อความบนหน้าจอ ซึ่งเราเรียกว่า Message Error นับเป็นการแจ้งปัญหา
อีกแบบหนึ่งที่มีประโยชน์ เพราะเราสามรถรู้ปัญหาได้ทันทีว่าอุปกรณ์ตัวไหนทํางานผิดปกติ หรือไม่ก็รู้ว่าการทํางานส่วนใดมี
ปัญหา ซึ่งจะนําไปสู่แนวทางในการแก้ปัญหาที่ง่าย ตัวอย่างของข้อความทีÉปรากฏให้เห็นบนหน้าจอบ่อย ๆ อย่างเช่น
CMOS checksum Error
CMOS BATTERY State Low
HDD Controller Failure
Diskplay switch not proper
ดังนันถ้าคุณพบว่าเครืองได้แจ้งปัญหาให้ทราบก็ให้รับหาทางแก้ไขโดยด่วน แต่ถ้าไม่สามารถแก้ไขได้ก็ให้จดข้อความบนหน้าจอไว้ เพือเอาไว้สอบถามผู้ทีสามารถให้คําแนะนําได้หรือเอาไว้ให้ช่างที่ร้านซ่อมดูก็ได้ เพื่อให้การตรวจซ่อมทําได้เร็วขึ้น
3. ตรวจสอบอาการเสียโดยดูจากความผิดปกติของเครื่องที่สามารถสังเกตได้
วิธีนี้คงต้องใช้ทักษะ ความรู้ และความชํานาญมากกว่า 2 แบบแรก เพราะจะเป็นอาการที่เครื่องไม่ได้มีอะไรแจ้งให้เราทราบ
เลยว่าอุปกรณ์ชินไหนมีปัญหาหรือเสียหาย มีแต่ความผิดปกติที่เราสามารถสังเกตได้ทางกายภาพ อย่างเช่น เปิดสวิตซ์แล้วไฟไม่ติด , เสียบปลักแล้วเครืองก็เปิดทันที , เปิ ดใช้เครืองได้ไม่ถึง 5 นาที ระบบก็ล่ม เป็นต้น จะเห็นว่าอาการดังกล่าวนี้เครืองไม่ได้แจ้งอะไรให้เราทราบเลยนอกจากอาการผิดปกติที่เรารับรู้ได้ ดังนั้นในการแก้ปัญหาในลักษณะนี้จึงจะต้องอาศัยผู้ที่มีประสบการณ์หรือช่างผู้ชํานาญ จึงจะสามารถวิเคราะห์ตรวจสอบ และทําการซ่อมแซมแก้ปัญหาได้
4. ตรวจสอบอาการเสียทีÉเราสามารถระบุอุปกรณ์ได้เลย
ปัญหาแบบนี้จะเป็นกับอุปกรณ์ที่เราใช้อยู่เป็นประจําแต่ถ้าอยู่ๆ ไม่สามารถทํางาน หรือทํางานได้ไม่ดี
เราก็รู้ได้ทันทีว่าอะไร เสีย อย่างเช่น ไดรว์ซีดีรอมไม่ทํางาน ภาพบนจอสั้นหรือกระพริบ ไดรว์ A ไม่ยอมอ่านแผ่น เป็นต้น จะเห็นว่าเป็นปัญหาที่เกิด จากความผิดปกติของอุปกรณ์ชิ้นนั้น ๆ โดยตรง การตรวจสอบหรือตรวจเช็คจึงทําได้ง่าย ไม่ยุ่งยากเหมือน 3 แบบที่ผ่านมา
5. ตรวจสอบอาการเสียที่เกิดจากการอัพเกรดอุปกรณ์ ไปจนถึงการปรับแต่งเครื่อง
สิ่งที่ทําให้เครื่องเกิดปัญหาอีกอย่างก็คือ การเพิ่มเติม ปรับเปลี่ยนหรือปรับแต่งอุปกรณ์บางตัวก็ทําไห้ เกิดปัญหาได้อีกเหมือน
อ้างอิงจาก: http://203.172.182.172/~kriengsak/computer/computer/repair.pdf
กัน เช่น อัพเกรดแรมแล้วเครืÉ องแฮงค์ Overclock ซีพียูจนไหม้ , ปรับ BIOS แล้วเครืÉองรวน เป็นต้น